You must enable JavaScript to view this site.
Homepage > Regions / Countries > Asia > South East Asia > Thailand > Thailand: Political Turmoil and the Southern Insurgency

ประเทศ ไทย: วิกฤตการเมืองกับปัญหาความไม่สงบในภาคใต้

Asia Briefing N°80 28 Aug 2008

บทนำ

รัฐบาล นายก รัฐมนตรี สมัคร สุนทร เวช กำลัง ต่อสู้ เพื่อ ความ อยู่ รอด ทางการ เมือง เขา ได้ มอบ ความ รับ ผิด ชอบ อย่าง เต็ม ที่ ให้ กับ ทหาร ใน การ จัดการ กับ ปัญหา ความ ไม่ สงบ ใน พื้นที่ ชายแดน ภาค ใต้ ซึ่ง ประชากร ส่วน ใหญ่ ใน พื้นที่ เป็น มุสลิม ปัญหา ความ ไม่ สงบ ได้ คร่า ชีวิต ผู้คน ไป แล้วก ว่า 3,000 คนใน รอบ สี่ ปี ที่ ผ่าน มา กองทัพ ได้ ปรับ โครงสร้าง การ ปฏิบัติ การ และ ประสบ ความ สำเร็จ ระดับ หนึ่ง ใน การ ลด จำนวน การ โจมตี ของ ฝ่าย ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ความ สำเร็จ เพียง ชั่วคราว ทางการ ทหาร แม้ จะ เป็น สิ่ง ที่ น่า ยินดี แต่ ก็ ไม่ สามารถ สลาย ปัญหา อึดอัด คับ ข้องใจ ที่ ฝัง ราก อยู่ ของ คน เชื้อ สาย มลายู มุสลิม ที่ เป็น คน กลุ่ม น้อย ใน ประเทศไทย เพื่อ จะ แก้ ปัญหา เหล่า นี้ รัฐบาล จำเป็น ต้อง ระดม สรรพ กำลัง และ เจตจำนง ทางการ เมือง เพื่อ ทำให้ เกิด ความ ริเริ่ม ทาง นโยบาย อย่าง จริงจัง

ความ ปั่น ป่วน วุ่นวาย ทางการ เมือง ใน กรุงเทพฯ ได้ เบี่ยง เบน ความ สนใจ ของ รัฐบาล ออก ไป จาก ปัญหา ความ รุนแรง ใน ชายแดน ภาค ใต้ รัฐบาล สมัคร ถูก บีบ คั้น จาก ปัญหา หลาย ด้าน ด้วย กัน พรรค ร่วม รัฐบาล สาม พรรค กำลัง เผชิญ กับ ปัญหา การ ยุบ พรรค ด้วย ข้อ กล่าว หา ว่า ทุจริต การ เลือก ตั้ง ซึ่ง รวม ถึง พรรค พลัง ประชาชน ด้วย ความ พยายาม ของ รัฐบาล ใน การ แก้ไข รัฐธรรมนูญ เพื่อ หลีก เลี่ยง การ ถูก ยุบ พรรค นำ ไป สู่ การ เดิน ขบวน ประท้วง ของ ประชาชน นำ โดย กลุ่ม พันธมิตร ประชาชน เพื่อ ประชาธิปไตย ซึ่ง การ รณรงค์ ทางการ เมือง ของ กลุ่ม นี้ ใน ปี 2549 เป็น เหตุ ที่ นำ ไป สู่ การ รัฐประหาร ที่ ขับ อดีต นายก รัฐมนตรี ทักษิณ ชิน วัตร ออก จาก อำนาจ ระหว่าง เดือน พฤษภาคม ถึง กรกฎาคม 2551 มี รัฐมนตรี สาม คนใน รัฐบาล สมัคร ถูก กดดัน ให้ ลา ออก จาก ตำแหน่ง หนึ่ง ใน นั้น คือ นาย นพ ดล ปัทมะ รัฐมนตรี ว่าการ กระทรวง ต่าง ประเทศ ซึ่ง ต้อง ออก จาก ตำแหน่ง เมื่อ เผชิญ กับ กระแส ชาตินิยม อัน เกรี้ยว กราด ที่ ถูก ปลุก ปั่น โดย พลัง ต่อ ต้าน รัฐบาล ใน ประเด็น ปัญหา ข้อ พิพาท เรื่อง เขตแดน กับ ประเทศ กัมพูชา

ท่ามกลาง สภาวการณ์ ดัง กล่าว รัฐบาล ได้ ปล่อย ให้ กองทัพ คุม การ ปฏิบัติ การ ใน ชายแดน ภาค ใต้ ซึ่ง ก็ มี ความ คืบ หน้า มาก ขึ้น ใน การ ลด จำนวน เหตุการณ์ ความ รุนแรง ลง ใน ช่วง ครึ่ง แรก ของ ปี 2551 แต่ กลุ่ม ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ซึ่ง มี การ จัด ตั้ง อย่าง ดี และ เข้ม แข็ง ยัง ไม่ อาจ ถูก ปราบ ให้ พ่าย แพ้ ลง ไป ง่ายๆ และ ความ ก้าวหน้า ของ ปฏิบัติ การ ทหาร นั้น ก็ มี ราคา ที่ ต้อง จ่าย การ เปิด “ ยุทธการ พิทักษ์ แดน ใต้ ” ของ กองทัพ ซึ่ง เป็นการ เข้า กวาดล้าง จับกุม ผู้ ต้อง สงสัย ว่า เกี่ยวข้อง กับ เหตุการณ์ ความ ไม่ สงบ ตั้งแต่ เดือน มิถุนายน 2550 ได้ นำ ไป สู่ การ ควบคุม ตัวผู้ ที่ทาง การ สงสัย ว่า เป็น ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ และ แนว ร่วม อย่าง เหวี่ยง แห นับ พัน คน มี รายงาน ที่ เชื่อ ถือ ได้ ระบุ ว่า มี การ ซ้อม ทรมาน ผู้ ถูก ควบ คุมตัว ดัง เช่น เหตุการณ์ ที่ อิหม่าม ราย หนึ่ง ถูก ทำร้าย ร่างกาย จน เสีย ชีวิต ขณะ ถูก ควบคุม ตัว โดย ทหาร ใน เดือน มีนาคม 2551 ซึ่ง ถูก ประณาม อย่าง รุนแรง จาก บรรดา ผู้ ทำงาน ด้าน สิทธิ มนุษย ชน แต่ ที่ ผ่าน มา มี ความ คืบ หน้า น้อย มาก ใน การ ดำเนิน การ ให้ เจ้า หน้าที่ ด้าน ความ มั่นคง รับ ผิด ชอบ ต่อ การ ใช้ อำนาจ อัน มิ ชอบ

การ ยุติ ความ รุนแรง ใน ภาค ใต้ ต้องการ มากกว่า เพียง ปฏิบัติ การ ทาง ทหาร ใน ขณะ นี้ ที่ ฝ่าย ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ กำลัง อยู่ ใน สถานะ ตั้ง รับ จึง ถือ เป็น ช่วง เวลา อัน ดี ที่ รัฐบาล จะ ดำเนิน จังหวะ ก้าว สำคัญ ใน การ จัดการ กับ สาเหตุ ต้นตอ ของ ความ ขัด แย้ง อย่างไร ก็ตาม สภาวะ ทาง ตัน ทางการ เมือง ใน กรุงเทพฯ ทำให้ เป็น ไป ได้ ยาก ที่ รัฐบาล จะ หัน ไป สนใจ ปัญหา ภาค ใต้ ใน ระยะ เวลา อัน ใกล้ นี้ หาก ปัญหา ถูก ปล่อย ทิ้ง ไว้ เนิ่น นาน เท่าไร การ ควบคุม มิ ให้ ปัญหา ลุกลาม ออก ไป ยิ่ง ยาก ขึ้น เท่านั้น ทั้งนี้ ไม่ ต้อง พูด ถึง การ ทำให้ การ แก้ไข สัมฤทธิ์ ผล

การ ที่ กลุ่ม ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ไม่มี การนำ ทางการ เมือง และ นโยบาย ที่ ประกาศ อย่าง ชัดเจน นับ เป็น อุปสรรค สำคัญ ใน การ แสวงหา ข้อ ยุติ โดย การ เจรจา อย่างไร ก็ตาม มี มาตรการ หลาย อย่าง ที่ รัฐบาล สามารถ ดำเนิน การ ได้ เอง เพื่อ แก้ไข ความ ไม่ พอใจ ของ ชาว มลายู ใน เรื่อง การ ศึกษา ความ ยุติธรรม ภาษา ประวัติศาสตร์ และ เศรษฐกิจ แต่ ความ ริเริ่ม เช่น นี้ เรียก ร้อง ต้องการ วิธี คิด แบบ ใหม่ จาก รัฐ ไทย ซึ่ง มี พลเมืองส่วน ใหญ่ เป็น ชาว พุทธ กล่าว คือ รัฐ ไทย ต้อง ตระหนัก และ ยอมรับ อัต ลักษณ์ ทาง ชาติพันธุ์ ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ ของ ชาว มลายู มุสลิม และ อนุญาต ให้ พวก เขา สามารถ เป็น พลเมือง ไทย โดย มิ ต้อง สูญ เสีย วัฒนธรรม อัน แตก ต่าง ของ พวก เขา

รัฐบาล ไทย ควร จะ ดำเนิน การ ดัง ต่อ ไป นี้

  • แต่ง ตั้ง รอง นายก รัฐมนตรี หนึ่ง คน ให้ กำกับ ดูแล จัดการ กับ ปัญหา ความ รุนแรง ใน ภาค ใต้ โดย เฉพาะ แทนที่ จะ ปล่อย ให้การ แก้ไข ปัญหา อยู่ ใน มือ ของกอง ทัพ
  • เพิ่ม อำนาจ ให้ กับ ศูนย์ อำนวย การ บริหาร จังหวัด ชายแดน ภาค ใต้ ( ศอ . บต . ) โดย เร่งรัด ออก กฎหมาย เพื่อ รองรับ อำนาจ หน้าที่ ใน การ ปฏิบัติ งาน ของ ศอ . บต . และ ทำให้ ศอ . บต . เป็น อิสระ จาก กอง อำนวย การ รักษา ความ มั่นคง ภายใน ซึ่ง อยู่ ภาย ใต้ การ ควบคุม ของ ทหาร
  • ยกเลิก กฎ อัยการ ศึก แก้ไข พระ ราช กำหนดการ บริหาร ราชการ ใน สถานการณ์ ฉุกเฉิน และ พระ ราช บัญญัติ รักษา ความ มั่นคง ภายใน เพื่อ ทำให้ เจ้า หน้าที่ ความ มั่นคง ต้อง รับ ผิด ชอบ ต่อ การ ก ระ ทำ ของ ตน มาก ขึ้น และ อนุญาต ให้ ผู้ ถูก ควบคุม ตัว สามารถ เข้า ถึง ทนาย และ ครอบครัว โดย ทันที
  • รับ ประกัน ว่า จะ ต้อง มี ผู้รับ ผิด ชอบ ต่อ การ ละเมิด สิทธิ มนุษย ชน ใน อดีต ไม่ ว่า จะ เป็น กรณี การ เสีย ชีวิต ของ ชาว มลายู มุสลิม เกือบ 200 คนใน เหตุการณ์ ตากใบ และ กรือ เซะ ใน ปี 2547 ซึ่ง เป็น วิธี ที่ มี ประสิทธิภาพ ที่สุด ใน การ รื้อฟื้น ความ เชื่อ มั่น ของ ชาว มลายู มุสลิม กลับ ขึ้น มา ใหม่
  • ประกาศ ชัดเจน ว่า รัฐบาล พร้อม ที่ จะ เจรจา อย่าง จริงจัง กับ ผู้นำ ที่แท้ จริง ของ กลุ่ม ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ทว่า ต้อง กำหนด เงื่อนไข ว่า คู่ เจรจา ต้อง แสดง ให้ เห็น ว่า พวก เขา มี อำนาจ ควบคุม ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ใน พื้นที่ ได้ อย่าง แท้จริง
  • พิจารณา อย่าง จริงจัง ถึง การ มอบ อำนาจ ปกครอง ตนเอง ใน บาง ระดับ หรือ การก ระ จา ยอำ นาจ ไป สู่ พื้นที่ ชายแดน ภาค ใต้ เพื่อ ช่วย ยุติ ความ ขัด แย้ง

More Information